บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน 1, 2017

โรคมาลาเรีย

รูปภาพ
โรคมาลาเรีย                       โรคมาลาเรียเกิดจากเชื้อ พวกส ปอโร ซัว มีชื่อเรียกหลายชื่อคือ ไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้หัวลม ไข้ดอกสัก พบทั่วไปในบริเวณป่า เทือกเขามีลำธาร หรืออาจเป็นน้ำเค็ม น้ำกร่อย ป่าชายทะเลที่มียุงก้นปล่องตัวเมียเป็นพาหะนำเชื้อ มาลาเรียเป็นโรคของประเทศแถบร้อนและชิดเขตร้อน องค์การอนามัยโลกได้จัดให้เป็นโรคที่สำคัญโรคหนึ่งของโรคเมืองร้อน ในแต่ละปีมีประชากรโลกป่วยด้วยโรคมาลาเรียถึง 500 ล้านคน และเสียชีวิตประมาณ 1-2 ล้านคน จากประชากรโลก 2,600 ล้านคน นอกจากนี้ยังพบว่าลิง สัตว์แทะ ค้างคาว กิ้งก่า นก เป็นมาลาเรียเช่นเดียวกัน ชนิดของเชื้อไข้มาลาเรียและยุงพาหะ 1 . Plasmodium falciparum พบทุกภาคของประเทศไทย พบถึงร้อยละ 60 ของผู้ป่วย เป็นชนิดที่ทำให้เกิดอาการรุนแรงมากที่สุด ทำให้เกิดโรคมาลาเรียชนิดจับไข้วันเว้นวัน 2 .  Plasmodium vivax   พบร้อยละ 35 ของผู้ป่วย เชื้อชนิดนี้มีระยะก่อนเข้าเม็ดเลือดแดงตกค้างในตับ ทำให้เกิด ระยะฮิพ โน ซอยต์ ได้ ทำให้เกิดไข้กลับ ทำให้เกิดโรคมาลาเรียชนิดจับไข้วันเว้นวัน 3 .  Plasmodium malariae   พบร้อยละ 0.5 ของผู้ป่วย พบในบางพื้นที่ของไท

Balantidium coli

รูปภาพ
Balantidium coli            เป็นซิ ลิเอตโพร โท ซัว ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ใหญ่ ทำให้เกิดโรคบา แลนทิ เดียซิส จัดว่าเป็น โพร โท ซัว ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่เป็นปรสิตในคน พบได้ทั่ว โลกโดยเฉพาะในเขตอบอุ่น         โทรโฟซอยต์ เป็นรูปไข่ขนาดประมาณ 30-120 x 40-200 ไมครอน มีขนเซลล์เท่าๆกันรอบตัว ด้านหัวจะมีไซ โทสโตม มีรูปร่างคล้ายกรวย ด้านท้ายของตัวเป็นไซโท พีน ( Cytopyge ) มีแมโคร นิวเคลียสเป็นรูปไต ไม โคร นิวเคลียสค่อนข้างกลม ภายในไซ โทพลา ซึมจะ มีแว คิว โอล อาหารค่อนข้างมาก รูปร่างลักษณะและระบาดวิทยา                ซิ สต์รูป ร่างกลม ผนังหนาและมีขนเซลล์   เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50 ไมครอน มีผนัง 2 ชั้น              การติดต่อเกิดได้โดยการรับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อน หมูเป็นรังเก็บเชื้อที่สำคัญ ดังนั้นผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จึงมักมีอาชีพเกี่ยวข้องกับหมู การเกิดโรคในคนทั่วไปพบน้อย พยาธิวิทยาและอาการ            หลังจาก ซิสต์ ถูกกิน โทรโฟซอยต์ จะออกจากซิ สต์บ ริ เวณ ลำไส้เล็กเคลื่อนตัวไปที่ลำไส้ใหญ่แล้วแทรกตัวเข้าไปในชั้น มิว โคซา โดยอาศัยขนเซลล์และเอนไซม์ ไฮอะลู โรนิ เดส ท

Ciliate protozoa

รูปภาพ
Ciliate protozoa                     เป็น โพร โท ซัว มีขนเซลล์ใช้สำหรับการเคลื่อนที่และจับอาหารมี ปากเรียกว่าไซ โทสโตม มีนิวเคลียส 2 อัน ขนาดใหญ่ เรียกว่าแมโคร นิวเคลียส ทำหน้าที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต ส่วนนิวเคลียสขนาดเล็กเรียก ว่า ไม โคร นิวเคลียส ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์             การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งตัวตามขวาง  การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยการจับคู่แลกเปลี่ยนนิวเคลียสซึ่งกันและกัน โพร โท ซัว ในกลุ่มนี้ส่วนมากดำรงชีวิตอิสระ ชนิดที่เป็นปรสิตมีเพียงชนิดเดียวคือ Balantidium coli

Leishmania tropica

รูปภาพ
Leishmania tropica          เป็น โพร โท ซัว กลุ่มเดียวกับ L. donovani แต่จะแตกต่างกันที่ชนิดของแมลงเวกเตอร์ แหล่งระบาดและลักษณะของโรค ทำให้เกิดโรค       ลิ ชมาเนียซิส ผิวหนัง หรือโรคแผลตะวันออก ( Orientalsore ) หรือโรคฝี เดลฮี ( Delhi ) มักจะพบกับชุมชนในเมือง โดยมีสุนัขเป็นรังเก็บเชื้อ       ปัจจุบันทราบว่าโรคแผลตะวันออกนั้นที่จริงมี 2 ชนิด ชนิดแรกเกิดจากเชื้อ L.tropica ชนิดที่ 2 เกิดจาก L.major ความแตกต่างระหว่างเชื้อ 2 ชนิดคือ ชนิด L.tropica มักเป็นแผลเดียวและแผลค่อนข้างแห้งขอบแผลมีเชื้อมากกว่า พบในชุมชนเมือง ส่วนชนิด L.major แผลค่อนข้างเปียกชื้นและพบในชนบทมากกว่าและมีหนูเป็นรังเก็บเชื้อ พยาธิสภาพและอาการ                  ในระยะแรกที่ได้รับเชื้อจากแมลงพาหะ จะเป็นตุ่มแดงนูน ใต้ตุ่มนูนจะเป็นแผล และอาจมีแผลเกิดใกล้เคียงกันอีกหลายตำแหน่ง แผลจะเป็นแผลขอบยก ก้นแผลลึก ขนาดแผลอาจใหญ่หลายเซนติเมตร แต่จะไม่เจ็บ แผลจากเชื้อทั้ง 2 ชนิดสามารถหายเองได้โดยใช้เวลาตั้งแต่ 2 เดือนจนถึง 1 ปี แต่หากรักษาจะหายเร็วกว่า การวินิจฉัย การรักษา และการป้องกัน   1. วิธีดีท

Leishmania donovani

รูปภาพ
Leishmania donovani        เป็น โพร โท ซัว ในเลือดและเนื้อเยื่อทำให้เกิดโรคลิ ชมาเนียซิส ของอวัยวะ ภายใน หรือคา ลาอะซาร์ เชื้อจะเข้าไปอาศัยในเซลล์ของ ระบบเร ติ คิวโล เอนโดที เลียล ( Reticulo -Endothelial System )และ เซลล์แมโครฟาจ ทำให้เกิดพยาธิ สภาพ ต่อเซลล์เหล่านี้       พาหะนำโรคเป็นแมลงหวี่ขน ( sandfly ) ทางการแพทย์เรียกว่าริ้นฝอย ทราย  เป็นแมลงสองปีกกลุ่มเดียวกับยุง และปีกมีขนตามเส้นปีก มี 2 สกุลคือ  Phlebotomus พบในแถบทะเลทรายของเอเชียและตะวันออกกลางและ  Lutzomyia พบในอเมริกากลางและใต้ รูปร่างลักษณะ          ในคนพบเฉพาะ ระยะอะแมสทิโกต และอาศัยอยู่ใน เซลล์เร ติ คิวโล เอนโดที เลียล ของม้าม ตับและไขกระดูก มีรูปกลมรีขนาด 2-5 ไมครอน ในลำไส้ของแมลงหวี่ขนตัวเมีย จะพบระยะ โพรแมสทิโกต ขนาด 1.5x15-20 ไมครอน   พยาธิสภาพและอาการ                พยาธิสภาพเริ่มจากมีตุ่มแดงนูนเล็กที่บริเวณรอยกัดของแมลง ตุ่มจะกลายเป็นแผล เชื้อจะไปตามกระแสเลือดเข้า สู่แมโครฟาจ และระบบ อาร์ อี ( RE system ) ของอวัยวะภายใน มีการงอกเกิน ( Hyperplasia ) ของเซลล์ อาร์ อี ทำให้ม